บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2018

ตัวเลขที่แสดงประจุไฟฟ้าของธาตุต่างๆ

              ตัวเลขที่แสดงประจุไฟฟ้าของธาตุต่างๆ 1. เลขออกซิเดซันจะมีค่าเป็น บวก ลบ หรือ ศูนย์ ก็ได้ 2. ธาตุหรือโมเลกุลจะมีเลขออกซิเดซัน เท่ากับ 0 3. สารประกอบจะมีผลรวมของเลขออกซิเดซัน เท่ากับ 0 4. สารประกอบไออนิก โลหะ จะมีเลขออกซิเดซันเป็นบวก อโลหะจะมีเลขออกซิเดซันเป็นลบ 5. สารที่มีพันธะโคเวเลนต์ ธาตุที่มีค่า EN น้อยจะมีเลขออกซิเดซันเท่ากับประจุของมัน 6. ไอออนของธาตุหรืออนุมูลของสารจะมีเลขออกซิเดซันเท่ากับประจุของมัน 7. H มีเลขออกซิเดซันเป็น+1 ถ้าเป็นพันธะโคเวเลนต์และเป็น -1 เมื่อเป็นพันธะไอออนิก 8 ธาตุหมู่ IA IIA และ III จะมีเลขออกซิเดซัน เท่ากับ +1 +2 +3 ตามลำดับ 9.ธาตุหมู่ IVA VA VIA VIIA  มีเลขออกซิเดซันได้หลายค่า เช่น หมู่ 4  มีเลขออกซิเดชัน        -4     +4 หมู่5   มีเลขออกซิเดชัน       -3       +5 หมู่6  มีเลขออกซืเดชัน         -2      +6 หมู่ 7 มีเลขออกซืเดชัน       -1     ...

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล

ความหมายของแรงยึดเหนี่ยว สารในธรรมชาติส่วนใหญ่จะไม่อยู่ในอิสระโดดๆ แต่อยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นก้อนเช่นในของแข็งและของเหลวสามารถรวมกันอยู่เป็นกลุ่มก้อนแสดงว่าอะตอมเหล่านั้นมีแรงยึดเหนี่ยวต่อกัน ถ้าต้องการแยกสารที่อยู่รวมกันออกจากกัน เช่น การแยกก้อนหินออกเป็นก้อนเล็กๆ ต้องใช้พลังงานโดยใช้แรงทุบหรือนำไปเผาไฟ การแยกสารเคมีออกจากกันจะใช้พลังงานหรือไม่ จะเห็นได้ว่า การแยกสารออกจากกันนั้นต้องใช้พลังงานและการที่อะตอมสามารถรวมกันเป็นโมเลกุลเมื่อต้องการให้สลายตัวกลับมาเป็นอะตอมจะต้องใช้พลังงานจำนวนหนึ่งซึ่งเมื่อต้องการทำให้แยกออกจากกันจะต้องใช้พลังงานจำนวนหนึ่งดังนั้น อนุภาคภายในของสารจะต้องมีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน โดยแรงยึดเหนี่ยวระหว่างของแข็งนั้นจะมากกว่าของเหลวและก๊าซ พันธะเคมี(Chemical bond) หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมเพื่อให้อยู่ในโมเลกุล หรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเพื่อทำให้อยู่กันเป็นก้อน คำว่า พันธะ มาจาก Bond ซึ่งหมายถึง แรงยึดเหนี่ยว ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงพันธะเคมีก็จะศึกษาถึงแรงยึดเหนี่ยวในทางเคมีนั่นเอง ซึ่งอาจจะเป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมด้วย และยังรวมถึงแรงยึดเหน...

ธาตุกัมมันตรังสี

รูปภาพ
ความหมายของธาตุกัมมันตรังสี ธาตุกัมมันตรังสี หมายถึงธาตุที่แผ่รังสีได้ เนื่องจากนิวเคลียสของอะตอมไม่เสถียร เป็นธาตุที่มีเลขอะตอมสูงกว่า 82 กัมมันตภาพรังสี หมายถึงปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่อง รังสีที่ได้จากการสลายตัว มี 3 ชนิด คือ รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมา ในนิวเคลียสของธาตุประกอบด้วยโปรตอนซึ่ง มีประจุบวกและนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า สัดส่วนของจำนวนโปรตอนต่อจำนวนนิวตรอนไม่เหมาะสมจนทำให้ธาตุนั้นไม่เสถียร ธาตุนั้นจึงปล่อยรังสีออกมาเพื่อปรับตัวเองให้เสถียร ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น (ธาตุยูเรเนียม) (ธาตุทอเลียม) (อนุภาคแอลฟา) จะเห็นได้ว่า การแผ่รังสีจะทำให้เกิดธาตุใหม่ได้ หรืออาจเป็นธาตุเดิมแต่จำนวนโปรตอนหรือนิวตรอนอาจไม่เท่ากับธาตุเดิม และธาตุกัมมันตรังสีแต่ละธาตุ มีระยะเวลาในการสลายตัวแตกต่างกันและแผ่รังสีได้แตกต่างกัน เรียกว่า ครึ่งชีวิตของธาตุ กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) เกิดจากการเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคอัลฟา อนุภาคเบต้า และรังสีแกมมาซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั...

สมบัติของธาตุ

 สมบัติของธาตุ หมู่ IA 1. เป็นของแข็งเนื้ออ่อน มัด ตัดได้ นำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี 2. ทุกชนิดเป็นโลหะมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับธาตุอื่นในคาบเดียวกัน 3.มีความหนาแน่นต่ำ 4. ธาตุหมู่ 1 ในคาบเดียวกันมีขนาดใหญ่ที่สุด 5. มีค่าไออีต่ำ และ อีเอ็น อีเอ พลังงานที่ใช้ดึงต่ำสามารถเสียอิเล็กตรอนได้ง่าย 6.เมื่อรวมกับอโละจะเกิดสารประกอบไออนิก และมีเลขออกซิเดซัน + 1 7. เป็นโลหะที่ว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา สมบัติของธาตุหมู่IIA  1. เป็นของแข็ง 2. ทุกตัวเป็นโลหะแต่น้อยกว่าหมู่ 1 3. นำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี 4. IE1  และค่าสัมพรรค e ต่ำ แต่สูงกว่า  IA ในคาบเดียวกัน 5. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงกว่า IA 6. เสียอิเล็กตรอนได้ง่ายที้งในสภาวะแก๊สและและสารละลาย 7. เมื่อรวมกับอโลหะได้สารประกอบไออนิก 8. เป็นธาตุที่ว่องไว สมบัติของธาตุหมู่ VIIA   ธาตุหมู่ 7หรือธาตุแฮโลเจน (Halogen)           ธาตุหมู่ 7A  หรือธาตุแฮโลเจน  เป็นธาตุที่มีสมบัติเป็นอโลหะ  มีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีสูง  ในสภาพธรรมชาติเรามั...

ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบ

   1.ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA โลหะ หมู่ IA ทำปฏิกิริยากับน้ำได้อย่างรวดเร็ว รุนแรง สามารถระเบิดได้ เพราะมีการคายพลังงานมามาก เช่น ปฏิกิริยาของโซเดียมกับน้ำ จะได้เป็น NaOH มีสมบัติเป็นเบสและเเก๊สไฮโดรเจน 2. ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IIA  หมู่  IIA  จะทำปฏิกิริยากับน้ำในอุณห๓ูมิห้องได้ 25 องศา ช้ามาก ถ้าใช้น้ำร้อนจะเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น เช่า ปฏิกิริยาโซเดียมกับน้ำ เป็นสารละลายเป็นเบสและแก๊สไฮโดรเจน 3.ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA  คลอรีน ทำปฏิกิริยากัล KBr KI   โบรมีนทำปฏิกิริยากับ KI  ไอโอดีนไม่ทำปฏิกิริยา KCI  KBr KI  คลอรีน มีความสามารถในการทำปฏิกิริยาได้ดีกว่าโบรมีนและโบรมีนทำปฏิกิริยาได้ดีกว่าไอโอดีน กล่าวได้ว่าความสามารถในการทำปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA  ลดลงจากบนลงล่าง

วิวัฒนาการของตารางธาตุ

รูปภาพ
  ต่อมาปี   พ . ศ . 2546  ( ค . ศ .1913)    เฮนรี่ กวิน เจฟฟรีส์ โมสลีย์   (Henry   Gwyn  Jeffreys Moseley)   พบว่าการเรียงธาตุตามเลขอะตอม    ( จำนวนโปรตอนหรืออิเล็กตรอน )     จะสอดคล้องกับกฎพิริออดิกโดยไม่ต้องสลับที่ธาตุกันเหมือนการเรียงตามมวลอะตอม และได้นำมาใช้การจัดตารางธาตุในปัจจุบัน http://kroomuk.blogspot.com/2010/11/blog-post.html

วิวัฒนาการของตารางธาตุ

รูปภาพ
เมนเดเลเอฟ เมนเดเลเอฟได้นำธาตุมาเรียงกันตามมวลอะตอม     โดยเว้นที่ว่างสำหรับธาตุที่ยังไม่พบในขณะนั้น แต่คาดว่าน่าจะมีธาตุที่มีสมบัติตามตำแหน่งนั้นอยู่ ต่อมาภายหลังได้มีการค้นพบธาตุมากขึ้น ก็พบว่าถ้ายึดหลักการเรียงตามมวลอะตอมของเมนเดเลเอฟอย่างเคร่งครัด จะไม่สามารถทำให้ธาตุบางชนิดที่มีสมบัติคล้ายกันอยู่ในหมู่เดียวกันได้  จึงต้องสลับที่ของธาตุบางตัว   แต่เมนเดเลเอฟก็ไม่สามารถอธิบายได้ว่า เพราะเหตุใดจึงต้องจัดเรียงธาตุเช่นนั้น นักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมาจึงเกิดแนวความคิดว่า ตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุไม่น่าจะขึ้นอยู่กับมวลอะตอมของธาตุ แต่น่าจะขึ้นกับสมบัติอื่นที่มีความสัมพันธ์กับมวลอะตอม http://kroomuk.blogspot.com/2010/11/blog-post.html

วิวัฒนาการของตารางธาตุ

รูปภาพ
           วิวัฒนาการของตารางธาตุ  ในปี พ.ศ.2360 โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ นักเคมีคนแรกที่พยายามจัดธาตุเป็นกลุ่มๆ ละ 3 ธาตุ ตามสมบัติที่คล้ายกัน เรียกว่าชุดสาม และพบว่าธาตักลางมีมวลอะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุ  ปี พ.ศ. 2407 จอห์น อเล็กซานเดอร์ รีนา นิวแลด์ส นักเคมีชาวอังกฤษพบว่าถ้านำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก พบว่าธาตุที่ื 8 จะมีสมบัติทางเคมีและกายภาพคล้ายธาตุที่ 1 และจะเกิดขึ้นทุกๆช่วงของธาตุที่ 8  เรียกการจัดวางนี้ว่า law of octaves
รูปภาพ
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก   1.  ใช้จำนวนอิเล็กตรอนจากเลขอะตอมมาจัดเรียง 2.  ต้องจัดอิเล็กตรอนเข้าไปในระดับพลังงานที่ n = 1 ให้เต็มก่อน เมื่อเต็มแล้วจึงจัดเข้าสู่ระดับ พลังงาน n = 2   n = 3 ไปตามลำดับ 3.  จำนวนอิเล็กตรอนที่มีมากที่สุดในแต่ละดับพลังงาน  คำนวณได้จากสูตร  ดังนี้

แบบจำลองอะตอมของทอมสัน

รูปภาพ
เซอร์ โจเซฟ ทอมสัน โดยทอมสันได้เสนอทฤษฎีที่ว่า 1. อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม 2. เนื้ออะตอมส่วนใหญ่จะเป็นประจุไฟฟ้าบวกและมีประจุลบกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอ 3. ภาวะปกติอะตอมจะเป็นกลางทางไฟฟ้า(มีประจุไฟฟ้าบวกเท่ากับประจุไฟฟ้าลบ) 4. ภาวะปกติอิเลคตรอนจะอยู่นิ่งในอะตอม อย่างไรก็ตามแบบจำลองอะตอมของทอมสัน มีข้อบกพร่องอยู่หลาย ประการ เช่น 1.ไม่สามารถอธิบายได้ว่าประจุไฟฟ้าบวกยึดกันอยู่ได้อย่างไรทั้งๆที่มีแรงผลักทางคูลอบ์มซึ่งกันและกัน 2.ไม่สามารถอธิบายการเกิดสเปกตรัมได้ 3.ธาตุนีออน(Neon)ซึ่งมีอิเลคตรอน 10 ตัว ธาตุโซเดียม(Na)มีอิเลคตรอน 11 ตัวการจัดเรียงตัวของอะตอมก็น่าจะคล้ายๆกันแต่ทำไมอิเลคตรอนตัวที่ 11 ของโซเดียมจึงหลุดจากอะตอมได้ง่ายกว่าอิเลคตรอนตัวที่ 10 ของธาตุนีออน 4.อธิบายไม่ได้ว่าทำไมโซเดียมจึงทำปฏิกิริยากับธาตุอื่นๆได้ดีกว่านีออนทั้งๆที่การจัดเรียงตัวของอะตอมคล้ายๆกัน เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (J.J Thomson) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้สนใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในหลอดรังสีแคโทด  จึงทำการทดลองเกี่ยวกับการนำไฟฟ้าของแก๊สขึ้นในปี พ.ศ. 2440 (ค.ศ. 1897)ทอมสันศึกษาแนวคิดที่...

แบบจำลองอะตอมของดอลตัน

รูปภาพ
                                                                  จอห์น   ดอลตัน จอห์น ดอลตัน ชาวอังกฤษ เสนอทฤษฎีอะตอมของดอลตัน - อะตอมเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุด แบ่งแยกอีกไม่ได้ - อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกัน - อะตอมต้องเกิดจากสารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันทางเคมี ซึ่งมีรูปแบบดังนี้   เรียกว่าอะตอมของดอลตัน https://wordind.wordpress.com/2010/09/27/%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%99-%E0%B8%94/